Jun 22, 2020 00:54
3 yrs ago
6 viewers *
English term

blue ocean strategy

GBK English to Thai Bus/Financial Business/Commerce (general)
Definition from TapRun.com:
A theory and book developed by W. Chan Kim and Renée Mauborgne. The authors suggest that moving into markets without competition (blue oceans) can be far more advantageous than entering proven, but competitive, markets (red oceans)
Example sentences:
Backroads’ Blue Ocean Strategy appealed to a much different audience than vacationers looking to relax, and has played a major role in expanding the industry to include travelers who want to feel fulfilled and accomplished at the conclusion of a trip. (ClearPoint Strategy)
Successful implementers of Blue Ocean strategy have used practical tools to systematically “translate blue ocean thinking into commercially compelling new offerings.” Sporadic, one-off “Blue Ocean strategy” is one thing: systematically adopting Blue Ocean thinking is another. (Forbes)
By questioning conventional definitions of who can and should be the target buyer, companies can often see fundamentally new ways to unlock value. Path three of blue ocean strategy’s six paths framework pushes companies to look across the chain of buyers in their industry. By shifting focus to a previously overlooked set of buyers, companies can unlock new value and create uncontested market space. (BlueOceanSystems)
Change log

Jun 19, 2020 00:13: changed "Kudoz queue" from "In queue" to "Public"

Jun 22, 2020 00:54: changed "Stage" from "Preparation" to "Submission"

Jun 25, 2020 01:57: changed "Stage" from "Submission" to "Selection"

Jul 2, 2020 01:54:

Jul 22, 2020 01:54:

Aug 21, 2020 01:55:

Proposed translations

14 days

กลยุทธ์มหาสมุทรสีคราม

The translator of the 2005-version of the book “Blue Ocean Strategy” by W. Chan Kim and Renée Bauborgne adopted “กลยุทธ์น่านน้ำสีเงิน” (literally “blue waters strategy”) for the term “Blue Ocean Strategy” and this Thai translation becomes the most used until now, while the translator of the 2015-version of the book with the same and by the same authors adopted “กลยุทธ์มหาสมุทรสีคราม” (literally “blue ocean strategy”) for the term “Blue Ocean Strategy”.

Indeed, several translations for the term “Blue Ocean Strategy” are used in Thai language and the most adopted translations are: “กลยุทธ์น่านน้ำสีคราม”, “กลยุทธ์มหาสมุทรสีคราม”, and “กลยุทธ์ทะเลสีคราม”

In my opinion, the translation which reflects the most the intention of the authors of its original term is “มหาสมุทรสีน้ำเงิน” (literally, “Blue Ocean Strategy”). It was the reason I proposed this translation.
Definition from W. Chan Kim and Renée Mauborgne
มหาสมุทรสีคราม คือพื้นที่ตลาดที่ยังไม่ถูกแตะ สามารถสร้างอุปสงค์ขึ้นมากได้ และมีโอกาสเติบโตสูงพร้อมกับทำกำไร แม้ว่ามหาสมุทรสีครามบางแห่งอาจจะสร้างขึ้นมานอกขอบเขตของอุตสาหกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบัน แต่จริง ๆ แล้วมหาสมุทรสีครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นภายในมหาสมุทรสีแดง โดยมาจากการขยายขอบเขตอุตสาหกรรมเดิม ๆ ออกไป ดังเช่นกรณีของ เซิร์ค ดู โซเลย์ ทั้งนี้การแข่งขันไม่มีความหมายใด ๆ ในมหาสมุทรสีคราม เพราะยังไม่มีใครกำหนดกฎของการแข่งขันขึ้นมา<br />[W. Chan Kim and Renée Mauborgne. (2015). กลยุทธ์มหาสมุทรสีคราม. Translated by Charuchan Khongmisuk. Bangkok: We Learn, 2018, page 29.]
Example sentences:
ในแนวทางของกลยุทธ์ “มหาสมุทรสีคราม” (Blue Ocean Strategy) จะให้ความสำคัญกับ กลยุทธ์ทั้งสองด้าน อันได้แก่ กลยุทธ์การให้ความสำคัญกับต้นทุนหรือความแตกต่าง (Cost Focus or Differentiation Focus) เพื่อให้สามารถสร้างกลยุทธ์ใหม่ขึ้นมาและก่อให้เกิดกลุ่มลูกค้าใหม่ขึ้นมาได้ ในการที่จะสามารถพัฒนาธุรกิจให้สามารถนำกลยุทธ์ “มหาสมุทรสีคราม” (Blue Ocean Strategy) มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพขึ้นได้จะต้องมีการนำทรัพยากรภายในที่มีอยู่ในทุกด้านมาใช้ทั้ง เครื่องมือและวิธีการต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมทำให้เกิดตลาดใหม่ๆได้ (Mercury 21st)
ในภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ผู้บริหารจะต้องคิดหากลยุทธ์ต่างๆ ในการบริหารกลยุทธ์มหาสมุทรสีคราม ( Blue Ocean Strategy ) คือ กลยุทธ์การแสวงหาตลาดหรือลูกค้ากลุ่มใหม่ ซึ่งในตลาดกลุ่มนี้จะมีการแข่งขันน้อย ส่งผลให้ธุรกิจสามารถทำกำไรหรือองค์การสามารถอยู่รอดได้ดีกว่าเดิม รวมถึงการนำกลยุทธ์ใหม่ ๆ มาใช้เพื่อให้ธุรกิจหรือการให้บริการที่สามารถปรับตนเองให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันได้ทันเวลาอยู่เสมอ (Panee Sitakalin )
การสร้างนวัตกรรมให้เกิดขึ้นกับสินค้าและบริการสามารถมองได้ว่าเป็นกระบวนการที่ไม่สามารถรับประกันได้ว่าจะเกิดประสิทธิผลได้เต็มร้อย ดังนั้นในการนำกลยุทธ์ “มหาสมุทรสีคราม” (Blue Ocean Strategy) มาใช้จะทำให้เกิดกระบวนการสร้างนวัตกรรมที่มีระบบและมีวิธีการที่ทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการตามมาได้เพิ่มขึ้นกว่าเดิม และสามารถใช้กับธุรกิจเดิมและธุรกิจที่เกิดขึ้นใหม่ได้ และในแง่ของการจัดการเชิงกลยุทธ์จะพบว่า กลยุทธ์ “มหาสมุทรสีคราม” (Blue Ocean Strategy) จะเป็นการรวมทั้งการกำหนดรูปแบบของกลยุทธ์ (Strategy Formulation) และการนำกลยุทธ์มาปฏิบัติ (Strategy Implementation) (Surachai Pattarabanjird)
Something went wrong...
Term search
  • All of ProZ.com
  • Term search
  • Jobs
  • Forums
  • Multiple search